งานทะเบียนราษฎร์
ทะเบียนราษฎร์
1. การรับแจ้งเกี่ยวกับบ้าน
    1.1 การขอเลขที่บ้าน
    1.2 การแจ้งรื้อถอนบ้านและบ้านถูกทำลาย
2. การแจ้งเกิด
    2.1 เด็กเกิดในบ้าน (อาคารที่มีบ้านเลขที่รวมถึงสถานพยาบาล)
    2.2 เด็กเกิดนอกบ้าน
    2.3 การแจ้งเกิดเกินกำหนด
3. การแจ้งตาย
    3.1 คนตายในบ้าน (รวมถึงสถานพยาบาล)
    3.2 การแจ้งตายต่างท้องที่
    3.3 การแจ้งการตายเกินกำหนด
    3.4 การเก็บ ฝัง เผา ทำลายหรือเคลื่อนย้ายศพผิดไปจากที่แจ้งไว้เดิม
4. การแจ้งย้ายที่อยู่
    4.1 การย้ายเข้า
    4.2 การย้ายออก
    4.3 การแจ้งย้ายปลายทางอัตโนมัติ
    4.4 การแจ้งย้ายบุคคลเข้าทะเบียนกลางของสำนักทะเบียน
    4.5 การแจ้งย้ายออกจากทะเบียนบ้านกลาง
5. การขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
6. การจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน
7. การแก้ไขรายการในสูติบัตร มรณบัตร และทะเบียนบ้าน
8. การตรวจ ค้น คัดและรับรองสำเนารายการทะเบียนราษฎร์
    8.1 การคัดรับรองสำเนารายการของตนเอง
    8.2 เจ้าบ้านหรือผู้มีส่วนได้เสียยื่นคำร้อง
    8.3 บุคคลหรือนิติบุคคลที่มีส่วนได้เสียยื่นคำร้อง

บัตรประจำตัวประชาชน
การทำบัตรประจำตัวประชาชน
     บัตรประจำตัวประชาชนเป็นเอกสารราชการที่ออกให้สำหรับคนไทยที่มีชื่อในทะเบียนบ้านเท่านั้น เพื่อใช้เป็นหลักฐานในการแสดงตนใช้พิสูจน์และยืนยันตัวบุคคลในการติดต่อราชการการขอรับบริการหรือสวัสดิการในด้านต่างๆ จากหน่วยงานของรัฐรวมทั้งใช้ประกอบการทำธุรกรรมต่างๆ ทำนิติกรรม ฯลฯ เช่น การสมัครงาน การขอเปิดบัญชีเพื่อทำธุรกรรมกับธนาคาร การโอนอสังหาริมทรัพย์/อสังหาริมทรัพย์ เป็นต้น
คุณสมบัติของผู้ที่ต้องมีบัตรประจำตัวประชาชน
   1. มีสัญชาติไทย
   2. ต้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน (ท.ร.14)
   3. มีอายุตั้งแต่ 7 ปี แต่ไม่เกิน 70 ปี

บุคคลที่กฎหมายยกเว้นไม่ต้องมีบัตรประจำตัวประชาชน
กรณีขอทำบัตรประจำตัวประชาชนครั้งแรก
กรณีบัตรเดิมหมดอายุ
กรณีบัตรหาย หรือถูกทำลาย
กรณีเปลี่ยนชื่อตัวหรือชื่อสกุลแล้วต้องเปลี่ยนบัตร
กรณีบัตรเดิมชำรุดในสาระสำคัญ บัตรถูกทำลาย
กรณีบุคคลที่พ้นสภาพได้รับการยกเว้นขอทำบัตร
กรณีผู้ถือบัตรย้ายที่อยู่
กรณีผู้ซึ่งมีอายุเกิน 70 ปี ขอมีบัตร
การขอมีบัตรกรณีเป็นบุคคลได้รับการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
การขอมีบัตรกรณีบุคคลซึ่งได้สัญชาติไทย หรือได้รับอนุมัติให้มีสัญชาติไทย หรือได้กลับคืนสัญชาติไทย
ขอเปลี่ยนบัตร กรณีเปลี่ยนคำนำหน้านาม